หน้าหลัก

หลังตั้งครรภ์

บทความหลังการตั้งครรภ์น่าอ่าน บทความวิธีการหลังการตั้งครรภ์ การเตรียมความพร้อม การดูแลลูกหลังคลอด

(18 Topics) - Page 2 Of 2
ข้อควรระวังไม่ให้ทารกแรกเกิดป่วย

การเป็นแม่คนแรกอาจทำให้คุณรู้สึกตื่นเต้นและกังวลในเวลาเดียวกัน เนื่องจากคุณต้องรับผิดชอบในการดูแลทารกของคุณในช่วงเวลาแรกๆ ของชีวิต แต่คุณไม่ต้องกังวลเกินไป เพราะมีข้อควรระวังหลายอย่างที่คุณสามารถปฏิบัติได้เพื่อที่จะไม่ให้ทารกของคุณป่วย

การตรวจการตั้งครรภ์

การตรวจการตั้งครรภ์ เป็นการตรวจเพื่อวัดระดับฮอร์โมนเอชซีจี (Human Chorionic Gonadotropin hCG) ในปัสสาวะหรือในเลือด ฮอร์โมนชนิดนี้จะถูกสร้างขึ้นประมาณ 6 วันหลังการปฏิสนธิ เมื่อเกิดการตั้งครรภ์ขึ้น ระดับฮอร์โมนเอชซีจีจะสูงขึ้นเป็นสองเท่าในทุก 2-3 วัน

ปัญหาที่พบบ่อยในการดูแลทารกแรกเกิด

คุณพ่อและคุณแม่มือใหม่หลายๆท่านมีความวิตกกังวลกับอาการบางอย่างที่พบในลูกน้อยที่เพิ่งคลอด ดังนั้นให้หมั่นสังเกตและดูแลลูกน้อยอย่างใกล้ชิด บางอาการเป็นปกติของเด็กทารกที่สามารถเกิดขึ้นได้จึงไม่จำเป็นต้องพบแพทย์ แต่บางอย่างอาจมีอาการรุนแรงได้ ดังนั้นหากมีอาการควรรีบพาลูกน้อยมาพบแพทย์

ผ้าอ้อมแต่ละชนิดแตกต่างกันอย่างไร แม่ๆควรเลือกแบบไหนดี?

การเลือกผ้าอ้อม เป็นปัญหาสำคัญสำหรับคุรแม่มือใหม่ เนื่องจากไม่รู้ว่าต้องเลือกแบบไหน ขนาดเท่าไร ใช้เนื้อผ้าอะไรดีให้เหมาะสมกับลูกน้อยของเรา คุรแม่หลานท่านมีความกังวลว่าเลือกไปแล้วลูกจะแพ้จะคันหรือไม่ ปัจจุบันก็มีให้เลือกมากมายหลายแบบ วันนี้มาทำความรู้จักเนื้อผ้าแต่ละแบบกันค่ะ เพื่อให้แม่ๆประกอบการตัดสินใจเลือกซื้อให้ลูกน้อย

ท่านอนที่ดีและปลอดภัย สำหรับทารกแรกเกิด-1 ปี

หากทารกแรกเกิด-1 ปี นอนท่าไม่ถูกต้อง อาจเกิดอันตรายได้ทุกเมื่อ เพราะเป็นวัยที่บอบบางและต้องการการดูแลเอาใจใส่จากคุณแม่ไม่ให้คลาดสายตา ดังนั้นคุณแม่จึงควรระมัดระวัง และควรจัดท่านอนทารกให้ถูกวิธี เพื่อให้ลูกปลอดภัยจากการนอนไม่ถูกวิธี

การอยู่ไฟหลังคลอดจำเป็นหรือไม่?

การอยู่ไฟเป็นการช่วยฟื้นฟูสภาพร่างกายของคุณแม่หลังคลอด เพื่อปรับสมดุลเลือดลมในร่างกายให้กลับมาปกติให้เร็วที่สุด ซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ การอยู่ไฟมีประโยชน์มากมายgเช่น ช่วยขับน้ำคาวปลา กระตุ้นน้ำนม ฟื้นฟูร่างกายที่อ่อนล้าหลังคลอด ช่วยให้เลือดลมไหลเวียนดี เป็นต้น

ควรจะหยุดห่อตัวทารกเมื่อไหร่

การห่อตัวทารกคือการใช้ผ้าห่อคลุมที่มักใช้ในการดูแลทารกในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในเอเชีย โดยมักจะเริ่มใช้ตั้งแต่ทารกเกิดจนถึงอายุประมาณ 2-3 เดือนขึ้นไป แต่ควรระมัดระวังและคิดให้ดีก่อนที่จะหยุดห่อตัวทารก

การห่อตัวเด็กทารกสำคัญอย่างไร?

การห่อตัวเด็กทารกแรกเกิดจะช่วยให้ทารกรู้สึกอบอุ่น ปลอดภัย หลับง่ายขึ้น เป็นการช่วยให้ทารกปรับตัวจากการเคยชินในการอยู่ในมดลูก อุ่น ๆ แคบ ๆ ให้ออกมาในโลกกว้างนี้ค่ะ ช่วงซัก 2-3 สัปดาห์ เด็ก ๆ จะมีการผวา สะดุ้งง่าย ดังนั้นคุณพ่อคุณม่ควรห่อตัวให้ลูกน้อย เพื่อให้ลูกน้อยอบอุ่นและรู้สึกปลอดภัยหมือนอยู่ในครรภ์แม่

12